1. 15 องค์ สมเด็จ บางขุนพรหม กรุใหม่ (ฝากกรุ) เจดีย์องค์เล็ก จอมพล ประภาส (ลําปาง) โชคลาภ อํานาจ วาสนา ร่ํารวย เมตตา
ประวัติสมเด็จ บางขุนพรหม กรุใหม่ ลําปาง จอมพล ประภาส จารุเสถียรครั้นในปี พ. ศ. ๒๔๑๑ เสมียนตราด้วง ต้นสกุล ธนโกเศศ ได้ทําการบรูณะพระอารามวัดใหม่อมตรส(วัดบางขุนพรหม)องค์ใหญ่เพื่อบรรจุสมบัติ สิ่งของ พระพิมพ์ต่างๆ ตามโบราณคติในอันที่จะสืบทอดพระพุทธศาสนา และสร้างเจดีย์องค์เล็กเพื่อบรรจุ อัฐิธาตุบรรพบุรุษ เจดีย์ตั้งแต่ปี พ. ศ. ๒๔๑๑ จนกระทั่งปี พ. ศ. ๒๔๑๓ จึงแล้วเสร็จ จากนั้น พ. ศ. ๒๔๑๔ จึงได้กราบนมัสการขอความเห็นจากสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ในการสร้างพระสมเด็จ ๘๔, ๐๐๐องค์ ตามจํานวนพระธรรมขันธ์เพื่อสืบทอดทางพระพุทธศาสนา ในเรื่องของการสร้างพิมพ์ขึ้นมาใหม่นั้นมีการจัดสร้าง จํานวน ๙ พิมพ์แต่เนื่องด้วยการสร้างพระจํานวนมากถึง๘๔, องค์ ในเวลาจํากัดในแต่ละพิมพ์จึงมีการสร้างพิมพ์ ๓-๓ พิมพ์พระสมเด็จบางขุนพรหม ๙ พิมพ์หลัก ได้แก่๑. พิมพ์ใหญ่ ๒. พิมพ์ทรงเจดีย์ ๓. พิมพ์เกศบัวตูม ๔. พิมพ์เส้นด้าย ๕. พิมพ์ฐานแซม ๖. พิมพ์สังฆาฏิ ๗. พิมพ์ปรกโพธิ์ ๘. พิมพ์ฐานคู่ ๙. พิมพ์อกครุฑ และพิมพ์อื่นๆ จํานวนที่สร้างสันนิษฐานกันว่า ๘๔พิมพ์ การปลุกเสกโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ได้เจริญพระพุทธมนต์และปลุกเสกเดี่ยวจนกระทั่งบริบูรณ์ด้วยพระสูตรคาถา เมื่อได้ปลุกเสกเป็นที่สุดแล้วได้มีการเรียกชื่อพระสมเด็จนี้ว่า ๙ พิมพ์สันนิษฐานว่าประมาณ๘, ๔๐๐องค์ลงบรรจุกรุเจดีย์ใหญ่ด้วยดังที่หลาย ๆ ท่านนิยมเรียกกันว่า ภายหลังคงเหลือจากการแอบเปิดเจดีย์ประมาณ ๓, ๐๐๐ องค์เท่านั้น ราคาหลักล้านในปัจจุบันหลังจากที่ได้บรรจุพระสมเด็จไว้ในพระเจดีย์ทั้งสอง ประมาณปี พ. ศ. ๒๔๑๔-๒๔๑๕ จนกระทั่งเกิดวิกฤตกับประเทศในกรณีพิพาทกับประเทศฝรั่งเศส ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ และในกรณีพิพาทอินโดจีน ได้มีการลักลอบเปิดกรุถึงสามครั้ง ดังนี้ครั้งที่ ๑ พ. ศ. ๒๔๒๕ ครั้งที่ ๒ พ. ศ. ๒๔๓๖ ครั้งที่ ๓ พ. ศ. ๒๔๕๙ การลักลอบส่วนใหญ่เกิดกับเจดีย์ใหญ่เนื่องด้วยพระสมเด็จพิมพ์วัดระฆังเป็นที่นิยมของเซียนพระสมัยนั้นมาก เรียกพระชุดนี้ว่า พระสองคลอง กรุเก่าบางขุนพรหม ท้ายที่สุดคือการลักลอบขุดกรุที่ฐานในปี พ. ศ. ๒๕๐๐ วิธีนี้ได้พระไปเป็นจํานวนมาก เป็นที่มาของพระสมเด็จบางขุนพรหมกรุธนา จนกระทั่งทางวัดใหม่อมตรส ได้ติดต่อให้กรมศิลปากรเข้ามาดูแล และเปิดกรุอย่างเป็นทางการโดยเชิญประภาส จารุเสถียร พระสมเด็จบางขุนพรหม กรุใหม่ เมื่อนํามาคัดแยกคงเหลือพระที่มีสภาพดีและสวยงามเพียงสามพันองค์เศษเท่านั้นจึงประทับตราวัด ทุกองค์กันการปลอมแปลงพระ เรียกกันในนาม และทางวัดนําพระบางส่วนออกจําหน่ายในราคามากอยู่แก่ประชาชนที่มารอทําบุญเช่าพระแต่ก็หมดลงในเวลาไม่นานนัก และพระส่วนมากมอบให้ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ ข้าราชกาลชั้นสูงที่มาทําบุญให้ทางวัดเป็นจํานวนมาก ในส่วนของกรุพระเจดีย์เล็ก นักเลงพระในยุคนั้นไม่ค่อยให้ความสนใจแต่ปรากฏว่าหลังจากเปิดกรุก็ได้พบ พระสมเด็จบางขุนพรหม กรุใหม่ อยู่มากมายนับไม่ถ้วน หลากหลายพิมพ์ที่พบ ประมาณ ๓๔ พิมพ์ พระคนละพิมพ์กับวัดระฆัง ลักษณะของวรรณะคราบกรุมาก ผิวเข้ม เนื้อพระมีความหดตัว ลอยปูไต่ พิมพ์พระไม่ชัด ตื้นพิมพ์ไม่ลึก เนื่องด้วยการสร้างกดมวลสารที่ไม่ประณีต เร่งรีบให้ทันจํานวนและเวลาที่จํากัด ฝีมือชาวบ้าน และจะมีความละเอียดสวยงามน้อยกว่ากรุพระเจดีย์ใหญ่ หลังจากเปิดกรุอย่างเป็นทางการทางวัดได้ทําการนับโดยจะประทับตราวัด ทุกๆ ๑๐๐ องค์ เพื่อสะดวกแก่การนับจํานวน นับได้หลายหมื่นองค์ จึงปรากฏว่าพระชุดนี้มีพระที่มีตราประทับบ้างไม่มีบ้าง โดยพระ สมเด็จบางขุนพรหมส่วนใหญ่อยู่กับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร ซึงท่านบริจาคเงินจํานวนมากให้แก่วัด ท่านจึงได้รับพระสมเด็จเป็นจํานวนมากหลายหมื่นองค์ รวมทั้ง พระสองคลอง บางส่วนด้วย และท่านได้นําพระชุดนี้ไปเก็บไว้ที่บ้าน สามฤดู จังหวัดลําปาง มีมารดาคอยดูแล ภายหลังมีงานบุญ และวาระต่างๆ ท่านได้นําพระชุดนี้ออกมาแจกจ่ายแก่ ประชาชน คนสนิท ญาติ มิตร ผู้มาทําบุญ เป็นจํานวนมากในจังหวัดลําปางและไกล้เคียง จึงเป็นที่มาของ พระสมเด็จบางขุนพรหม ลําปาง ซึ่งคนในพื้นที่รู้จักและครอบคลองกันมานาน. ประวัติสมเด็จ บางขุนพรหม กรุใหม่ ลําปาง จอมพล ประภาส จารุเสถียรครั้นในปี พ. ศ. ๒๔๑๑ เสมียนตราด้วง ต้นสกุล ธนโกเศศ ได้ทําการบรูณะพระอารามวัดใหม่อมตรส(วัดบางขุนพรหม)องค์ใหญ่เพื่อบรรจุสมบัติ สิ่งของ พระพิมพ์ต่างๆ ตามโบราณคติในอันที่จะสืบทอดพระพุทธศาสนา และสร้างเจดีย์องค์เล็กเพื่อบรรจุ อัฐิธาตุบรรพบุรุษ มีการจัดสร้าง จํานวน ๙ พิมพ์แต่เนื่องด้วยการสร้างพระจํานวนมากถึง๘๔, องค์ ในเวลาจํากัดในแต่ละพิมพ์จึงมีการสร้างพิมพ์ ๓-๓ พิมพ์พระสมเด็จบางขุนพรหม ๙ พิมพ์หลัก ได้แก่๑. พิมพ์ใหญ่ ๒. พิมพ์ทรงเจดีย์ ๓. พิมพ์เกศบัวตูม ๔. พิมพ์เส้นด้าย ๕. พิมพ์ฐานแซม ๖. พิมพ์สังฆาฏิ ๗. พิมพ์ปรกโพธิ์ ๘. พิมพ์ฐานคู่ ๙. พิมพ์อกครุฑ และพิมพ์อื่นๆ จํานวนที่สร้างสันนิษฐานกันว่า ๘๔พิมพ์