คุณรู้หรือไม่? การเลือกซื้อบูชาพระวิษณุกรรมได้ที่ไหนแต่ละชนิดนั้นมีทั้ง บูชาพระวิษณุกรรมได้ที่ไหน นอกจากจะพิจารณาเรื่องของการใช้งานไม่ว่าจะเป็น งบประมาณ คุณภาพ ความทนทาน ชื่อเสียงของแต่ละรุ่นแล้ว ยังควรพิจารณาในเรื่องของพื้นที่ในการจัดวางและพื้นที่ใช้สอยในบูชาพระวิษณุกรรมได้ที่ไหนอีกด้วย โดยวันนี้เราได้จัดอันดับ บูชาพระวิษณุกรรมได้ที่ไหนแบบที่มีคุณภาพดีมีประสิทธิภาพมาให้คุณได้เลือกกันแล้ว ดังนี้
2. พระวิษณุกรรมกรมศิลปากรปี47 หน้าตัก 6 นิ้ว
#พระวิษณุกรรมกรมศิลปากรปี47 หน้าตัก 6 นิ้ว พร้อมเปิดให้บูชา ครับผม ติดต่อสอบถามรายละเอียด แชทข้อความ ครับผม #พระวิษณุ NoBrand
3. เศียรพระวิษณุกรรม ขนาดครอบ งานพิมพ์ 95Holyshop
เศียรพระพิฆเนศขนาดครอบ. พระวิษณุกรรมอุเทนถวาย. พระวิษณุกรรมช่างยนต์. เศียรพ่อแก่ ขนาดครอบ. พระวิษณุกรรมอาร์มปัก
4. พระวิษณุกรรม เทพเจ้าแห่งงานช่าง
พระวิษณุกรรม เนื้อทองเหลือง พระวิษณุกรรม เทพแห่งศิลปะการช่าง พระวิษณุกรรม เป็นสิ่งบ่งบอกถึงสัญลักษณ์ แห่งสถาบันการศึกษาด้านวิชาชีพ นักศึกษาด้านวิชาชีพต่างก็ยกย่องนับถือองค์พระวิษณุกรรมในฐานะเทพ ผู้เป็นบิดาในเชิงช่าง คําว่า วิษณุ หมายถึง พระนารายณ์หรือภาคหนึ่งของพระองค์ มีชื่อเรียกได้หลายชื่อด้วยกัน เช่น พระวิษณุกรรม วิสสุกรรม เวชสุกรรม เพชฉลูกรรม ตามความเชื่อในลัทธิพราหมณ์จะนับถือพระวิษณุกรรมว่า เป็นเทพผู้มีความรู้ ความสามารถในเชิงช่างฝีมือทุกประเภทเราจะพบว่าวรรณคดีหลายเรื่อง กล่าวถึงความ สามารถด้านนี้ของพระองค์ เช่น ในมหาเวชสันดรชาดก กล่าวถึงความสามารถด้านนี้ของพระองค์ เมื่อพระเวชสันดรได้พาพระนางมัทรีและสองกุมารมาถึงเขาวงกตนั้น พระวิษณุกรรมได้สร้างอาศรมถวายเพื่อใช้เป็นที่พักบําเพ็ญศีล ภาวนา จากผลงานสร้างสรรค์ที่ปรากฏมากมายนี้เอง เทพองค์นี้จึงได้ชื่อว่า “วิศวกรรมา” ซึ่งมีความหมายตามรูปศัพท์ว่า “ผู้ทําทุกสิ่งทุกอย่าง” (The Universal Doer) คือเป็น “นายช่างแห่งจักรวาล” นั้นเอง ในสถาบันการศึกษาที่สอนวิชาช่างทุกแห่งจะพบว่า มีรูปปั้นของพระวิษณุกรรมไว้บูชาตามความเชื่อของ ลัทธิพราหมณ์เคียงคู่กับพระพุทธรูปของชาวพุทธเสมอมา แต่จะมีท่าทางที่ต่างกันอยู่ 2 ท่า คือท่านั่งจะเป็นรูปองค์ พระวิษณุประทับนั่งบนแท่น มือขวาถือดอกบัวหรือลูกดิ่ง ส่วนท่ายืนมือขวาถือไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่ง และไม้ฉาก ท่านคงสงสัยถึงที่มาขององค์พระวิษณุกรรมทั้ง 2 ท่านี้ ก็พอขยายความได้ว่า หากสถาบันใดเปิดสอน วิชาชีพช่างก่อสร้าง ก็มักอยู่ในท่ายืนมือถือลูกดิ่งและไม้เมตรหรือไม้วาอันเป็นเครื่องมือของช่างก่อสร้างมาแต่สมัย โบราณซึ่งช่างทั้งหลายทราบดีว่าเป็นเครื่องมือสําหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แต่สิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปด้วยปรัชญาในการดําเนินชีวิต คือความแม่นยํา เที่ยงตรง ไม่เอนเอียงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่มาของช่างที่ดี คือความมีคุณธรรมประจําใจ หากเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ช่างก่อสร้างอยู่ด้วย ก็มักจะใช้ท่านั่ง เข้าใจว่าผู้สร้างคงจะชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงสถาบันผู้ผลิตช่างก่อสร้าง อันเป็นช่างเก่าแก่มีมาแต่ก่อนแล้ว มีสองขนาดครับ 1. ขนาดสูง 7.5 นิ้ว กว้าง 4.0 นิ้ว บูชาที่ 2,499 บาท 2. ขนาดสูง 10.50 นิ้ว กว้าง 5.50 นิ้ว บูชาที่ 3,299 บาท ------------------ #พระวิษณุ #วิษณุกรรม #เทพเจ้าแห่งศิลปะ #งานช่าง #การช่าง #ทองเหลือง #รูปหล่อ #บูชา #พระ #พระวิศวกรรม #เทพเจ้าพราหมณ์ #ฮินดู NoBrand
5. พระวิษณุกรรมกรมศิลปากรปี47 หน้าตัก 3 นิ้ว
องค์บูชาพระวิษณุกรรม จัดสร้างโดยกรมศิลปากร ปี 2547 ขนาดหน้าตัก 3 นิ้ว สูง 5.5 นิ้ว จัดสร้างโดย กรมศิลปากร พิธีเทวาภิเษก ณ พระอุโบสถวัดบวรสถานสุทธาวาส (โบสถ์พระแก้ววังหน้า) บริเวณวิทยาลัยนาฎศิลป์ กรุงเทพ วันที่ 3 ธันวาคม 2547 ตรงกับวันศุกร์ แรม 7 ค่ํา เดือน 12 ปีวอก โดยนิมนต์พระภิกษุทั่วประเทศที่อาวุโสและมีวัตรปฎิบัติงดงามมาร่วมพิธี 16 รูป ประกอบด้วย... หลวงพ่อทิม วัดพระขาว อยุธยา หลวงพ่อแย้ม วัดตะเคียน นนทบุรี หลวงพ่อท้วม วัดศรีสุวรรณ สุราษฎร์ธานี หลวงพ่อแสวง วัดสว่างภพ ปทุมธานี หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง เพชรบุรี หลวงพ่อเขียน วัดกระทิง จันทบุรี หลวงพ่อพูน วัดบ้านแพน อยุธยา หลวงพ่อพยุง วัดโป่งแดง สุพรรณบุรี หลวงพ่อคําบ่อ วัดใหม่บ้านตาล สกลนคร หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม อยุธยา พระอธิการมนัส วัดคลองเกวียนลอย จันทบุรี พระครูประดิษฐ วัดทุ่งตาอิน จันทบุรี พระสุมห์จรูญ วัดราหุล สิงห์บุรี พระอธิการสุรเชษฐ วัดหนองตาลัย สุพรรณบุรี พระสมุห์ชํานาญ วัดบางกุฎีทอง ปทุมธานี พระครูวินัยธร วัดลิ้นทอง อ่างทอง NoBrand
6. พระวิษณุกรรม ยืน หน้าตัก 9 นิ้ว
#พระวิษณุกรรม,#พระวิศวกรรม,#พระเพชรฉลูกรรม พระวิษณุกรรมเป็นนายช่างใหญ่ของพระอินทร์ จุติเพื่อสร้างสรรค์เครื่องมือ อุปกรณ์ สิ่งของ งานหัตถศิลป์ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น เปรียบเสมือนเป็น พระครูวิชาช่าง ที่นําพาความรู้ต่าง ๆ มาสอนแก่มนุษย์ “....โอม สะศาง ขะจักรัม สะกิริฎะกุณตะลัม สิปตะวัสตรัม.... พระวิษณุกรรม หน้าตัก 9 นิ้ว (ยืน) ขนาด 9 นิ้ว ฐานกว้าง 16 cm. ฐานยาว 16 cm. แขนกว้าง 36 cm. สูง 61 cm. น้ําหนัก ทอง 10 กิโลกรัม พระวิศวกรรม (สันสกฤต: विश्वकर्मा) หรือ พระวิษณุกรรม (บาลี: วิสฺสุกมฺม) หรือ พระเพชรฉลูกรรม เป็น เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์ ตามตํานานกล่าวว่า เป็นผู้สร้างเครื่องมือ สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น และเป็นแบบอย่างให้กับมนุษย์สืบมา ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครูช่าง หรือเทพแห่งวิศวกรรมของไทย โดยเรามักพบเห็นรูปจําลององค์ท่านได้บ่อย ๆ ตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่สองท่า คือ ท่าประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือ ผึ่ง (จอบสําหรับขุดไม้) และอีกข้างถือ ดิ่ง และท่าประทับยืนมือขวาถือไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่งและไม้ฉาก ที่มาขององค์พระวิษณุกรรมทั้ง 2 ท่านี้ พอขยายความได้ว่า หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพช่างก่อสร้าง มักอยู่ในท่ายืนมือถือลูกดิ่งและไม้เมตรหรือไม้วาอันเป็นเครื่องมือของช่างก่อสร้างมาแต่สมัยโบราณซึ่งช่างทั้งหลายทราบดีว่าเป็นเครื่องมือสําหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แต่สิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปด้วยปรัชญาในการดําเนินชีวิต คือความแม่นยํา เที่ยงตรง ไม่เอนเอียงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่มาของช่างที่ดี คือความมีคุณธรรมประจําใจ หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ช่างก่อสร้างอยู่ด้วย มักจะใช้ท่านั่ง เข้าใจว่าผู้สร้างคงจะชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงสถาบันผู้ผลิตช่าง NoBrand
7. พระวิษณุกรรม หน้าตัก 5 นิ้ว
พระวิษณุกรรม พระวิษณุกรรม หน้าตัก 5 นิ้ว ขนาด 5 นิ้ว กว้าง 11 cm. ยาว 14 cm. สูง 28 cm. น้ําหนัก ทอง 2 กิโลกรัม พระวิศวกรรม (สันสกฤต: विश्वकर्मा) หรือ พระวิษณุกรรม (บาลี: วิสฺสุกมฺม) หรือ พระเพชรฉลูกรรม เป็น เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์ ตามตํานานกล่าวว่า เป็นผู้สร้างเครื่องมือ สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น และเป็นแบบอย่างให้กับมนุษย์สืบมา ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครูช่าง หรือเทพแห่งวิศวกรรมของไทย โดยเรามักพบเห็นรูปจําลององค์ท่านได้บ่อย ๆ ตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่สองท่า คือ ท่าประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือ ผึ่ง (จอบสําหรับขุดไม้) และอีกข้างถือ ดิ่ง และท่าประทับยืนมือขวาถือไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่งและไม้ฉาก ที่มาขององค์พระวิษณุกรรมทั้ง 2 ท่านี้ พอขยายความได้ว่า หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพช่างก่อสร้าง มักอยู่ในท่ายืนมือถือลูกดิ่งและไม้เมตรหรือไม้วาอันเป็นเครื่องมือของช่างก่อสร้างมาแต่สมัยโบราณซึ่งช่างทั้งหลายทราบดีว่าเป็นเครื่องมือสําหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แต่สิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปด้วยปรัชญาในการดําเนินชีวิต คือความแม่นยํา เที่ยงตรง ไม่เอนเอียงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่มาของช่างที่ดี คือความมีคุณธรรมประจําใจ หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ช่างก่อสร้างอยู่ด้วย มักจะใช้ท่านั่ง เข้าใจว่าผู้สร้างคงจะชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงสถาบันผู้ผลิตช่าง NoBrand
8. อาร์มปักพระวิษณุกรรม 9.4*12 ซม C04)
มุมจักรปัก. เสื้อ โปโลปัก พระวิษณุกรรม. อาร์ม พระวิษณุ ขนาด ใหญ่. พระวิษณุกรรมติดเสื้อ. อาม พระวิษณุกรรม. ตัวรีด พระวิษณุ. อาร์มพระวิษณุกรรมขนาด 9.4*12 ซม. สามารถเย็บติดหรือรีดติดได้เลยค่ะ. งานปักละเอียด แน่น เก็บขอบงานเรียบร้อย ไม่ลุ่ย ไม่เป็นขลุย. Stock แน่น ไม่มีสินค้าขาด stock. จัดส่งสินค้าทุกวัน. ทางร้านขออนุญาต ไม่รับเปลี่ยน/คืนสินค้า ยกเว้นเป็นความผิดของทางร้านที่ส่งสินค้าไม่ตรงตามคําสั่งซื้อ หรือ สินค้ามีตําหนิเท่านั้นค่ะ. อาร์มพระวิษณุกรรมขนาด 9.4*12 ซม. สามารถเย็บติดหรือรีดติดได้เลยค่ะ. งานปักละเอียด แน่น เก็บขอบงานเรียบร้อย ไม่ลุ่ย ไม่เป็นขลุย. Stock แน่น ไม่มีสินค้าขาด stock. จัดส่งสินค้าทุกวัน. ทางร้านขออนุญาต ไม่รับเปลี่ยน/คืนสินค้า ยกเว้นเป็นความผิดของทางร้านที่ส่งสินค้าไม่ตรงตามคําสั่งซื้อ หรือ สินค้ามีตําหนิเท่านั้นค่ะ
9. พระวิษณุกรรม หน้าตัก 9 นิ้ว
พระวิษณุกรรม พระวิษณุกรรม หน้าตัก 9 นิ้ว ขนาด 9 นิ้ว กว้าง 22 cm. ยาว 25 cm. สูง 38 cm. น้ําหนัก ทอง 7 กิโลกรัม พระวิศวกรรม (สันสกฤต: विश्वकर्मा) หรือ พระวิษณุกรรม (บาลี: วิสฺสุกมฺม) หรือ พระเพชรฉลูกรรม เป็น เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์ ตามตํานานกล่าวว่า เป็นผู้สร้างเครื่องมือ สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น และเป็นแบบอย่างให้กับมนุษย์สืบมา ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครูช่าง หรือเทพแห่งวิศวกรรมของไทย โดยเรามักพบเห็นรูปจําลององค์ท่านได้บ่อย ๆ ตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่สองท่า คือ ท่าประทับนั่งห้อยพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือ ผึ่ง (จอบสําหรับขุดไม้) และอีกข้างถือ ดิ่ง และท่าประทับยืนมือขวาถือไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่งและไม้ฉาก ที่มาขององค์พระวิษณุกรรมทั้ง 2 ท่านี้ พอขยายความได้ว่า หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพช่างก่อสร้าง มักอยู่ในท่ายืนมือถือลูกดิ่งและไม้เมตรหรือไม้วาอันเป็นเครื่องมือของช่างก่อสร้างมาแต่สมัยโบราณซึ่งช่างทั้งหลายทราบดีว่าเป็นเครื่องมือสําหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แต่สิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปด้วยปรัชญาในการดําเนินชีวิต คือความแม่นยํา เที่ยงตรง ไม่เอนเอียงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่มาของช่างที่ดี คือความมีคุณธรรมประจําใจ หากสถาบันใดเปิดสอนวิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ช่างก่อสร้างอยู่ด้วย มักจะใช้ท่านั่ง เข้าใจว่าผู้สร้างคงจะชี้ให้เห็นเด่นชัดถึงสถาบันผู้ผลิตช่าง NoBrand